ภาษีที่ดิน และ สิ่งปลูกสร้าง ได้ถูกร่างขึ้นมาเพื่อใช้แทน พรบ.ภาษีที่ดินและโรงเรือน และภาษีบำรุงท้องที่ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องการเก็บภาษีซ้ำซ้อน การลดหย่อนภาษีที่มากไปจนทำให้รายได้จากการเก็บภาษีของประเทศลดลงไป ทั้งยังช่วยกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาที่ดินรกร้างว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์ โดยผู้ที่จะต้องทำหน้าที่เสียภาษีก็คือ เจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง เจ้าของห้องชุดคอนโด และผู้ที่ครอบครองทรัพย์สินของรัฐ ซึ่งหน่วยงานที่จัดเก็บภาษีก็คือ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา และส่งต่อไปยังองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เพื่อจัดเก็บและนำมาพัฒนาประเทศต่อไป
วันนี้ เชียงใหม่บ้าน จึงสรุปอัตราการเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง สำหรับในปี 2566 ของที่ดินแต่ละประเภทมาฝากเนื่องจากรัฐมีมติลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างใน ปี พ.ศ.2566 ซึ่งลดต่อเนื่องมาแล้ว 4 ปี เพราะสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 เป็นมาตรการที่ออกมาเพื่อช่วยลดภาระประชาชน แล้วภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจัดเก็บในอัตราเท่าไร?
ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ต้องเสียภาษีมี 4 ประเภท
- ที่อยู่อาศัย
- ที่ดินเกษตรกรรม
- ที่ดินใช้ประโยชน์อื่น ๆ
- ที่ดินว่างเปล่า
1. ผู้เป็นเจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างหลังเดียว
มีหน้าที่ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามมูลค่าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในอัตรา ดังนี้

2. ผู้เป็นเจ้าของเฉพาะสิ่งปลูกสร้างหลังเดียว
มีหน้าที่ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามมูลค่าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในอัตรา ดังนี้

3. ผู้เป็นเจ้าของสิ่งปลูกสร้างหรือที่ดินตั้งแต่ 2 หลังขึ้นไป
มีหน้าที่ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามมูลค่าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในอัตรา ดังนี้

4. บุคคลธรรมดาผู้เป็นเจ้าของที่ดินเกษตรกรรม
มีหน้าที่ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามมูลค่าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในอัตรา ดังนี้

5. นิติบุคคลเป็นเจ้าของที่ดินเกษตรกรรม
มีหน้าที่ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามมูลค่าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในอัตรา ดังนี้

6. ผู้เป็นเจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเชิงพาณิชย์ เช่น ร้านอาหาร ออฟฟิศ โรงแรม สำนักงาน ฯลฯ
มีหน้าที่ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามมูลค่าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในอัตรา ดังนี้

7. ผู้เป็นเจ้าของที่ดินรกร้างว่างเปล่าไม่ได้ใช้ประโยชน์
มีหน้าที่ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามมูลค่าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในอัตรา ดังนี้

ระยะเวลาในการเสียภาษี
จากเดิมภายในเดือน เม.ย. 2566 ขยายเวลาเป็น 30 มิ.ย. 2566 หากต้องจ่ายภาษีจำนวน 3,000 บาท สามารถใช้สิทธิ์ผ่อนชำระภาษีได้เป็น 3 งวด เท่า ๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย
ประโยชน์ของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ปี2566
มาถึงในส่วนของประโยชน์จากภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกันบ้าง จะมีข้อดีหรือประโยชน์อย่างไร เชียงใหม่บ้านได้รวบรวมมาชี้แจงแถลงไขกันดังต่อไปนี้
-ลดการเก็บภาษีซ้ำซ้อนของพรบ.ฉบับเดิม
-เก็บเงินภาษีได้มากขึ้น มีเงินหมุนเวียนในการพัฒนาประเทศ
-ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
-กระตุ้นให้เกิดการใช้ประโยชน์จากที่ดิน
-ลดการเก็งกำไรที่ดินจากเหล่าคนรวย
-ลดการคอรัปชั่น เพราะประชาชนสามารถตรวจสอบการทำงานของรัฐได้
หากมีคำถามและต้องการแชร์ความคิดเห็นเกี่ยวกับพรบ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง สามารถบอกเราได้ทุกเมื่อด้วยการคอมเมนท์ใต้โพสต์นี้นะคะ
คิดเห็นอย่างไรบอกกันได้นะจ๊ะ
ถาม-ตอบ กับ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ปี2566 ที่ทุกคนต้องรู้ !
-เจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
-เจ้าของห้องชุดคอนโด
-ผูที่ครอบครองทรัพย์สินของรัฐ
หน่วยงานเทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบลกรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา และส่งต่อไปยังองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เพื่อจัดเก็บและนำมาพัฒนาประเทศต่อไป
4 ประเภท
1.ที่อยู่อาศัย
2.ที่ดินเกษตร
3.ที่ดินใช้ประโยชน์อื่นๆ
4.ที่ดินเปล่า
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0-50 ล้านบาท ได้รับการยกเว้นอัตราการเสียภาษี
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 50-75 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.03% เสียภาษีล้านละ 300 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 75-100 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.05% เสียภาษีล้านละ 500 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 100 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.1% เสียภาษีล้านละ 1,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0-50 ล้านบาท ได้รับการยกเว้นอัตราการเสียภาษี
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 50-75 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.03% เสียภาษีล้านละ 300 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 75-100 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.05% เสียภาษีล้านละ 500 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 100 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.1% เสียภาษีล้านละ 1,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0-50 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.02% เสียภาษีล้านละ 200 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 50-75 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.03% เสียภาษีล้านละ 300 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 75-100 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.05% เสียภาษีล้านละ 500 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 100 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.1% เสียภาษีล้านละ 1,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0-50 ล้านบาท ได้รับการยกเว้นการเสียภาษี
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 50-125 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.1% เสียภาษีล้านละ 100 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 125-150 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.03% เสียภาษีล้านละ 300 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 150-550 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.05% เสียภาษีล้านละ 500 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 550-1,050 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.07% เสียภาษีล้านละ 700 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 1,050 ล้านบาทขึ้นไป อัตราเสียภาษี 0.1% เสียภาษีล้านละ 1,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0-75 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.01% เสียภาษีล้านละ 100 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 70-100 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.03% เสียภาษีล้านละ 300 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 100-500 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.05% เสียภาษีล้านละ 500 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 500-1,000 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.07% เสียภาษีล้านละ 700 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 1,000 ล้านบาทขึ้นไป อัตราเสียภาษี 0.1% เสียภาษีล้านละ 1,000 บาท
ผู้เป็นเจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเชิงพาณิชย์ เช่น ร้านอาหาร ออฟฟิศ โรงแรม สำนักงาน และอื่นๆ เสียภาษีตามอัตราดังนี้
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0-50 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.3% เสียภาษีล้านละ 3,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 50-200 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.4% เสียภาษีล้านละ 4,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 200-1,000 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.5% เสียภาษีล้านละ 5,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 1,000-5,000 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.6% เสียภาษีล้านละ 6,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 5,000 ล้านบาทขึ้นไป อัตราเสียภาษี 0.7% เสียภาษีล้านละ 7,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0-50 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.3% เสียภาษีล้านละ 3,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 50-200 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.4% เสียภาษีล้านละ 4,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 200-1,000 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.5% เสียภาษีล้านละ 5,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 1,000-5,000 ล้านบาท อัตราเสียภาษี 0.6% เสียภาษีล้านละ 6,000 บาท
-มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 5,000 ล้านบาทขึ้นไป อัตราเสียภาษี 0.7% เสียภาษีล้านละ 7,000 บาท
-ลดการเก็บภาษีซ้ำซ้อนของพรบ.ฉบับเดิม
-เก็บเงินภาษีได้มากขึ้น มีเงินหมุนเวียนในการพัฒนาประเทศ
-ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
-กระตุ้นให้เกิดการใช้ประโยชน์จากที่ดิน
-ลดการเก็งกำไรที่ดินจากเหล่าคนรวย
-ลดการคอรัปชั่น เพราะประชาชนสามารถตรวจสอบการทำงานของรัฐได้